[x] ปิดหน้าต่างนี้
 

 

บทบาทภารกิจกลุ่มส่งเสริมการศึกษานอกระบบ

กลุ่มงานการศึกษาพื้นฐาน

1)  งานส่งเสริมการศึกษาพื้นฐาน
     1.1)  ศึกษา วิเคราะห์หลักสูตรแกนกลาง เพื่อให้สามารถนาไปจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาได้
     1.2)  ส่งเสริม สนับสนุนการจัดทำและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
     1.3)  สร้างความรู้ความข้าใจในกระบวนการจัดทำและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
    
1.4)  สนับสนุนให้สถานศึกษาดำเนินการจัดทำและพัฒนาหลักสูตร
     1.5)  ติดตามการนำหลักสูตรไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
     1.6)  สรุปรายงานผลการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
2)  งานส่งเสริมการพัฒนาครู
     2.1)  ศึกษาปัญหา ความต้องการและความจำเป็นในการจัดกระบวนการเรียนรู้
     2.2)  พัฒนารูปแบบและกระบวนการพัฒนาครู ในรูปแบบที่หลากหลายและทันสมัย  
     2.3)  ส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูมีทั้งการพัฒนาตนเองและหน่วยงานสนับสนุนอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
3)  งานส่งเสริมการศึกษาพื้นฐานร่วมกับภาคีเครือข่าย
     3.1)  ร่วมกับสถานศึกษา กำหนดแนวทางการทำงานร่วมกับภาคีเครือข่าย
     3.2)  ร่วมกับสถานศึกษา สร้างความรู้ ความเข้าใจในการจัดการศึกษาพื้นฐานให้แก่ภาคีเครือข่ายในเรื่องหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ การวัดผล
            การประเมินผล และการบริหารจัดการ

     3.3)  ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษา พัฒนาหลักสูตร สื่อและกระบวนการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับภาคีเครือข่าย                      
    
3.4)  ติดผลการจัดการศึกษาพื้นฐานร่วมกับภาคีเครือข่าย 
    
3.5)  สนับสนุนทรัพยากรที่จำเป็นต่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้แก่ภาคีเครือข่าย
    
3.6)  เผยแพร่และประชาสัมพันธ์ผลการจัดการศึกษาพื้นฐานที่ได้จัดร่วมกับภาคีเครือข่าย
4)  งานส่งเสริมการรู้หนังสือ
    
4.1)  ประสานงานสถานศึกษาที่เกี่ยวข้องในการหาข้อมูลผู้ไม่รู้หนังสือ 
    
4.2)  ประสานงานและสนับสนุน ผลิตและจัดหาสื่อการเรียนการสอนผู้ไม่รู้หนังสือ 
    
4.3)  ส่งเสริมงานด้านวิชาการ ด้านเทคนิคการสอนให้แก่ครูที่สอนผู้ไม่รู้หนังสือ 
    
4.4)  มีส่วนร่วมในการติดตามผลและให้ข้อเสนอแนะในการจัดการเรียนการสอนผู้ไม่รู้หนังสือ 
    
4.5)  สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน 
5)  งานส่งเสริมการจัดการศึกษาพื้นฐานทุกกลุ่มเป้าหมาย
     5.1)  ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดการศึกษาพื้นฐาน 
    
5.2)  ส่งเสริมงานด้านวิชาการในการจัดการศึกษาพื้นฐานทุกกลุ่มเป้าหมาย 
    
5.3)  มีส่วนร่วมในการติดตามผลและให้ข้อเสนอแนะในการจัดการศึกษาพื้นฐาน 
     5.4)  สรุป/รายงานผลการดำเนินงาน


กลุ่มงานการศึกษาต่อเนื่อง

1)  งานส่งเสริมการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ
     1.1)  สนับสนุน ส่งเสริม ประสานงานกับสถานศึกษาและภาคีเครือข่ายจัดทำหลักสูตรท้องถิ่น (ระยะสั้น
    
1.2)  ส่งเสริมและเผยแพร่หลักสูตรท้องถิ่น 
    
1.3)  ประสานการจัดทำฐานข้อมูลการจัดการศึกษาอาชีพ
     1.4)  ส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาหลักสูตรอาชีพให้มีความหลากหลายเหมาะสมกับสภาพท้องถิ่น 
     1.5)  พัฒนารูปแบบกระบวนการจัดการเรียนรู้ และเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาการจัดการศึกษาอาชีพ 
    
1.6)  พัฒนาครูและบุคลากรของสถานศึกษาและภาคีเครือข่ายเพื่อจัดการศึกษาอาชีพ 
    
1.7)  ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีกิจกรรม/ช่องทางในความหลากหลายอาชีพและการบริหารจัดการอย่างครบวงจร 
    
1.8)  มีส่วนร่วมในการติดตามผลและให้ข้อเสนอแนะในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ 
    
1.9)  ศึกษา วิเคราะห์เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับการจัดการศึกษาอาชีพของสถานศึกษาและภาคีเครือข่าย 
    
1.10)  พัฒนารูปแบบกระบวนการใช้เทคโนโลยีเพื่อการจัดการศึกษาอาชีพ 
    
1.11)  ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาและภาคเครือข่ายสามารถใช้เทคโนโลยีเพื่อการจัดการศึกษาอาชีพได้อย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ
2)  งานส่งเสริมการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต
    
2.1)  ประสานการจัดทำฐานข้อมูลการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต
    
2.2)  ส่งเสริม สนับสนุน การพัฒนาหลักสูตรเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตให้มีความหลากหลายเหมาะสมกับสภาพท้องถิ่นและสถานการณ์ปัจจุบัน   
     2.3)  พัฒนารูปแบบกระบวนการจัดการเรียนรู้ และเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต
    
2.4)  พัฒนาครูและบุคลากรของสถานศึกษาและภาคีเครือข่าย เพื่อจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต 
3)  งานส่งเสริมการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน
     3.1)  การจัดเวทีชาวบ้าน
    
3.2)  พัฒนารูปแบบการจัดเวทีชาวบ้านให้เหมาะสมตามสภาพท้องถิ่น 
     3.3)  พัฒนาบุคลากรของสถานศึกษาให้มีความรู้ความสามารถในการเป็นวิทยากรกระบวนการ 
    
3.4)  ส่งเสริมให้สถานศึกษาใช้กระบวนการจัดเวทีชาวบ้านเป็นเครื่องมือในการจัดทำแผนและจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับความต้องการและ
            สภาพความจำเป็นของชุมชน

4)  งานส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
    
4.1)  การส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
     4.2)  สนับสนุนให้สถานศึกษาบูรณาการหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
มาใช้ในการจัดการเรียนรู้ 
    
4.3)  ปลูกฝัง สร้างจิตสำนึกให้บุคลากรของหน่วยงานและสถานศึกษา  ประพฤติ ปฏิบัติตนตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและเป็นตัวอย่างได้ 

     4.4)  ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาดาเนินการไปสู่ “สถานศึกษา กศน.พอเพียงตามเกณฑ์ที่กำหนด 

    
4.5)  ส่งเสริมการจัดแหล่งเรียนรู้ตามหลักของ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 
    
4.6)  ศึกษา รวบรวมข้อมูลและเผยแพร่ผลงานของบุคลากรท้องถิ่นที่มีความรู้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ให้เป็นที่ยอมรับของชุมชนและสังคม


กลุ่มงานส่งเสริมการเทียบโอนผลการเรียนและการเทียบระดับการศึกษา

1)  งานส่งเสริมการเทียบโอนผลการเรียนและการเทียบระดับการศึกษา
   
1.1)  ส่งเสริม สนับสนุนการดำเนินงานเทียบระดับการศึกษา 
    1.2)  ส่งเสริมการประชาสัมพันธ์การเทียบระดับการศึกษาให้แพร่หลาย 
   
1.3)  ส่งเสริม สนับสนุนการดำเนินงานเทียบโอนความรู้ประสบการณ์ 

   
1.4)  พัฒนาครูและผู้ที่เกี่ยวข้องให้มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการให้ค่าน้ำหนักของสาระความรู้และประสบการณ์ที่นำมาเทียบโอน

    1.5)  ส่งเสริม และพัฒนาระบบสะสมผลการเรียน  (Credit Bank System)ของสถานศึกษา เพื่อประโยชน์ในการดำเนินการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ 
    1.6)  ร่วมนิเทศติดตามผลการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์

2)  งานศูนย์ทะเบียนนักศึกษา
   
2.1)  พัฒนาระบบงานทะเบียนนักศึกษาเพื่อความสะดวกในการค้นหาและตรวจสอบวุฒิการศึกษา 
   
2.2)  รวบรวมข้อมูลรายบุคคลเพื่อดำเนินการขอรับการสนับสนุนงบประมาณ 
   
2.3)  ตรวจสอบรายชื่อนักศึกษาซ้ำซ้อนของสถานศึกษาและภาคีเครือข่าย 
   
2.4)  รายงานข้อมูล GPA/PR ให้ถูกต้องและ ทันตามกำหนด 
   
2.5)  สนับสนุนการพัฒนาระบบฐานข้อมูลและโปรแกรมเพื่อการสืบค้นหลักฐานทางการศึกษา


กลุ่มงานศูนย์ให้คำปรึกษาแนะนำ (Advice Center)

1)  งานส่งเสริมสนับสนุนศูนย์ให้คำปรึกษาแนะนำ
   
1.1)  จัดทำสื่อ เอกสาร/คู่มือหรือแนวทางการดำเนินงานศูนย์ให้คำปรึกษาแนะนำให้กับสถานศึกษา 
   
1.2)  ส่งเสริมสนับสนุนการสะสมความรู้และประสบการณ์ (Credit bank) เพื่อต่อยอดการเรียน  และมีการจัดกระบวนการเรียนรู้เป็นรายบุคคล
    1.3)  พัฒนาครูและบุคลากรของสถานศึกษาให้มีความรู้และทักษะในการให้คำปรึกษาแนะนำได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
   
1.4)  ส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาแนะนำเชิงรุกถึงกลุ่มเป้าหมายด้วยวิธีการที่หลากหลาย
2)  งานส่งเสริมกิจการนักศึกษา                    
   
2.1)  ศึกษา วิเคราะห์ และพัฒนารูปแบบการจัดตั้งองค์กร/ชมรมนักศึกษา 
    2.2)  ส่งเสริมให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของสมาชิกองค์กร/ชมรมนักศึกษา 

   
2.3)  สรรหา ยกย่อง และประกาศเกียรติคุณองค์กร/ชมรมนักศึกษาดีเด่น




เข้าชม : 6747
 
กลุ่มส่งเสริมการศึกษานอกระบบ  สำนักงาน กศน.จังหวัดชัยภูมิ ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ 36000
โทร 044 821330  E_mail : 
Powered by MAXSITE 1.10   Modify by   นิกร เกษโกมล   Version 2.04tb    Admin